ดอกลำดวน
ดอกไม้ประจำจังหวัดศรีสะเกษ
ดอกไม้ประจำจังหวัด
ศรีสะเกษ
ชื่อดอกไม้
ดอกลำดวน
ชื่อสามัญ
Lamdman, Devil Tree, White Cheesewood
ชื่อวิทยาศาสตร์
Melodorum fruticosum Lour.
วงศ์
ANNONACEAE
ชื่ออื่น
ลำดวน (ภาคกลาง), หอมนวล (ภาคเหนือ)
ลักษณะทั่วไป
ลำดวนเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางสูงประมาณ 5–10 เมตร ผิวเปลือกลำต้นเป็นสีเทา ผิวต้นเรียบ มีรอยแตกเล็กน้อยแตก ใบเป็นใบเดี่ยวออกเรียงสลับกันตามข้อ ลำต้น
ใบเป็นรูปหอก ยาวรี ปลายใบแหลม โคนใบมนแหลม ขอบใบเรียบเป็นคลื่นเล็กน้อย ผิวใบเรียบเป็นมันสีเขียวเข้ม ดอกเป็นดอกเดี่ยวออกตามส่วนยอด และตามง่ามใบ มีกลีบดอก 6 กลีบ ซ้อนกันเป็นชั้น ปลายกลีบแหลม โคนกลีบดอกกว้าง ดอกมีขนาดเล็กสีเหลือง กลิ่นหอมเย็น ออกดอกช่วง
เดือนธันวาคม-มีนาคม
ใบเป็นรูปหอก ยาวรี ปลายใบแหลม โคนใบมนแหลม ขอบใบเรียบเป็นคลื่นเล็กน้อย ผิวใบเรียบเป็นมันสีเขียวเข้ม ดอกเป็นดอกเดี่ยวออกตามส่วนยอด และตามง่ามใบ มีกลีบดอก 6 กลีบ ซ้อนกันเป็นชั้น ปลายกลีบแหลม โคนกลีบดอกกว้าง ดอกมีขนาดเล็กสีเหลือง กลิ่นหอมเย็น ออกดอกช่วง
เดือนธันวาคม-มีนาคม
การขยายพันธุ์
การเพาะเมล็ด, ตอนกิ่ง
สภาพที่เหมาะสม
ดินร่วนซุย แสงแดดจัด เติบโตได้ดีในที่ชุ่มชื้น
ถิ่นกำเนิด
ประเทศแถบอินโดจีน
ดอกไม้ประจำจังหวัด
ภาคเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
กาฬสินธุ์ขอนแก่นชัยภูมินครพนมนครราชสีมาบึงกาฬบุรีรัมย์มหาสารคามมุกดาหารยโสธรร้อยเอ็ดเลยศรีสะเกษสกลนครสุรินทร์หนองคายหนองบัวลำภูอำนาจเจริญอุดรธานีอุบลราชธานี
ภาคกลาง
กรุงเทพมหานครกำแพงเพชรชัยนาทนครนายกนครปฐมนครสวรรค์นนทบุรีปทุมธานีพระนครศรีอยุธยาพิจิตรพิษณุโลกเพชรบูรณ์ลพบุรีสมุทรปราการสมุทรสงครามสมุทรสาครสระบุรีสิงห์บุรีสุโขทัยสุพรรณบุรีอ่างทองอุทัยธานี