ต้นขานาง
ต้นไม้ประจำจังหวัดกาญจนบุรี
ต้นไม้ประจำจังหวัด
กาญจนบุรี
ชื่อพันธุ์ไม้
ต้นขานาง
ชื่อสามัญ
Moulmein Lancewood
ชื่อวิทยาศาสตร์
Alstonia macrohpylla Wall
วงศ์
Homalium tomentosum Benth.
ชื่ออื่น
ขานาง (ภาคกลาง,เชียงใหม่,มจันทบุรี), ขางนาง คะนาง (ภาคกลาง), ค่านางโคด (ระยอง), ช้างเผือกหลวง (เชียงใหม่), แซพลู้ (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี), ปะหง่าง (ราชบุรี), เปลือย (กาญจนบุรี), เปื๋อยคะนาง เปื๋อยนาง (อุตรดิตถ์), เปื๋อยค่างไห้
(ลำปาง), ลิงง้อ (นครราชสีมา)
(ลำปาง), ลิงง้อ (นครราชสีมา)
ลักษณะทั่วไป
ต้นขานางเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบสูง 15–30 เมตร เปลือกต้นสีขาวนวล เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลนุ่ม ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปไข่ ขอบใบหยักคล้ายฟันเลื่อย ออกดอกเป็นช่อตามง่ามใบและปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็ก สีเหลืองอ่อน ออกดอกช่วงเดือน มีนาคม-พฤษภาคม
ขยายพันธุ์
โดยการเพาะเมล็ด
สภาพที่เหมาะสม
ดินที่มีหินปูนปนอยู่มาก น้ำและความชื้นปานกลาง
ถิ่นกำเนิด
ป่าเบญจพรรณชื้น พบมากในจังหวัดกาญจนบุรี ราชบุรี
คำขวัญประจำจังหวัดกาญจนบุรี
แคว้นโบราณ ด่านเจดีย์ มณีเมืองกาญจน์ สะพานข้ามแม่น้ำแคว แหล่งแร่น้ำตก
ต้นไม้ประจำจังหวัด
ภาคเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
กาฬสินธุ์ขอนแก่นชัยภูมินครพนมนครราชสีมาบึงกาฬบุรีรัมย์มหาสารคามมุกดาหารยโสธรร้อยเอ็ดเลยศรีสะเกษสกลนครสุรินทร์หนองคายหนองบัวลำภูอำนาจเจริญอุดรธานีอุบลราชธานี
ภาคกลาง
กรุงเทพมหานครกำแพงเพชรชัยนาทนครนายกนครปฐมนครสวรรค์นนทบุรีปทุมธานีพระนครศรีอยุธยาพิจิตรพิษณุโลกเพชรบูรณ์ลพบุรีสมุทรปราการสมุทรสงครามสมุทรสาครสระบุรีสิงห์บุรีสุโขทัยสุพรรณบุรีอ่างทองอุทัยธานี