ต้นมะขาม
ต้นไม้ประจำจังหวัดเพชรบูรณ์
ต้นไม้ประจำจังหวัด
เพชรบูรณ์
ชื่อพันธุ์ไม้
ต้นมะขาม
ชื่อสามัญ
Tamarind, Indian date
ชื่อวิทยาศาสตร์
Tamarindus indica Linn.
วงศ์
LEGUMINOSAE
ชื่ออื่น
มะขามไทย ตะลูบ (นครราชสีมา), ม่องโคล้ง (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี), มอดเล ส่ามอเกล (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), มะขาม (ทั่วไป), หมากแกง (ละว้า-แม่ฮ่องสอน), อำเปียล (เขมร-สุรินทร์)
ลักษณะทั่วไป
ต้นมะขามเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ ใบเป็นใบประกอบ ออกเป็นคู่ เรียงกันตามก้านใบ ปลายใบและโคนใบมน ออกดอกเป็นช่อเล็กๆ อยู่ตามบริเวณปลายกิ่ง ขนาดเล็ก มีกลีบสีเหลือง ผลมี 2 ชนิด คือ ชนิดฝักกลมเล็กยาวเรียกว่า “มะขามขี้แมว” ชนิดฝักใหญ่แบนเรียกว่า “มะขามกระดาน” เมล็ดเป็นรูปค่อนข้างกลม ผิวเปลือกเกลี้ยงสีน้ำตาลเข้ม
ขยายพันธุ์
โดยการเพาะเมล็ด หรือตอนกิ่ง
สภาพที่เหมาะสม
สภาพดินทุกชนิด ชอบแสงแดด
ถิ่นกำเนิด
ทวีปเอเชีย และแอฟริกาเขตร้อน
คำขวัญประจำจังหวัดเพชรบูรณ์
เมืองมะขามหวาน อุทยานน้ำหนาว ศรีเทพเมืองเก่า เขาค้ออนุสรณ์ นครพ่อขุนผาเมือง
ต้นไม้ประจำจังหวัด
ภาคเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
กาฬสินธุ์ขอนแก่นชัยภูมินครพนมนครราชสีมาบึงกาฬบุรีรัมย์มหาสารคามมุกดาหารยโสธรร้อยเอ็ดเลยศรีสะเกษสกลนครสุรินทร์หนองคายหนองบัวลำภูอำนาจเจริญอุดรธานีอุบลราชธานี
ภาคกลาง
กรุงเทพมหานครกำแพงเพชรชัยนาทนครนายกนครปฐมนครสวรรค์นนทบุรีปทุมธานีพระนครศรีอยุธยาพิจิตรพิษณุโลกเพชรบูรณ์ลพบุรีสมุทรปราการสมุทรสงครามสมุทรสาครสระบุรีสิงห์บุรีสุโขทัยสุพรรณบุรีอ่างทองอุทัยธานี