ต้นช้างน้าว
ต้นไม้ประจำจังหวัดมุกดาหาร
ต้นไม้ประจำจังหวัด
มุกดาหาร
ชื่อพันธุ์ไม้
ต้นช้างน้าว
ชื่อสามัญ
ชื่อวิทยาศาสตร์
Ochna integerrima (Lour.) Merr.
วงศ์
OCHNACEAE
ชื่ออื่น
กระแจะ (ระนอง), กำลังช้างสาร (กลาง), ขมิ้นพระต้น (จันทบุรี), ควุ (กะเหรี่ยง-นครสวรรค์), แง่ง (บุรีรัมย์), ช้างน้าว ตานนกกรด (นครราชสีมา), ช้างโน้ม (ตราด), ช้างโหม (ระยอง), ตาชีบ้าง (กะเหรี่ยง-เชียงใหม่), ตาลเหลือง (เหนือ), ฝิ่น (ราชบุรี), โว้โร้ (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี)
ลักษณะทั่วไป
ต้นช้างน้าวเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบสูง 3–8 เมตร ตามปลายกิ่งมีกาบหุ้มตาแข็งและแหลม ใบเป็นใบเดี่ยวออกสลับ แผ่นใบรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ ปลายใบแหลม โคนใบมน ขอบใบจักถี่ ออกดอกเป็นช่อสั้นตามกิ่ง มีสีเหลือง ออกดอกช่วงเดือนมกราคม-พฤษภาคม ผล ทรงกลม เมื่อสุกสีดำ
ขยายพันธุ์
เพาะเมล็ด ปักชำกิ่ง
สภาพที่เหมาะสม
สภาพดินทุกชนิด ต้องการน้ำและความชื้นปานกลาง
ถิ่นกำเนิด
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
คำขวัญประจำจังหวัดมุกดาหาร
หอแก้วสูงเสียดฟ้า ภูผาเทิบแก่งกะเบา แปดเผ่าชนพื้นเมือง ลือเลื่องมะขามหวาน กลองโบราณล้ำเลิศ ถิ่นกำเนิดลำผญา ตระการตาชายโขง เชื่อมโยงอินโดจีน
ต้นไม้ประจำจังหวัด
ภาคเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
กาฬสินธุ์ขอนแก่นชัยภูมินครพนมนครราชสีมาบึงกาฬบุรีรัมย์มหาสารคามมุกดาหารยโสธรร้อยเอ็ดเลยศรีสะเกษสกลนครสุรินทร์หนองคายหนองบัวลำภูอำนาจเจริญอุดรธานีอุบลราชธานี
ภาคกลาง
กรุงเทพมหานครกำแพงเพชรชัยนาทนครนายกนครปฐมนครสวรรค์นนทบุรีปทุมธานีพระนครศรีอยุธยาพิจิตรพิษณุโลกเพชรบูรณ์ลพบุรีสมุทรปราการสมุทรสงครามสมุทรสาครสระบุรีสิงห์บุรีสุโขทัยสุพรรณบุรีอ่างทองอุทัยธานี