ต้นตะเคียนหิน
ต้นไม้ประจำจังหวัดอำนาจเจริญ
ต้นไม้ประจำจังหวัด
อำนาจเจริญ
ชื่อพันธุ์ไม้
ต้นตะเคียนหิน
ชื่อสามัญ
ชื่อวิทยาศาสตร์
Hopea ferrea Heim.
วงศ์
DIPTEROCARPACEAE
ชื่ออื่น
ตะเคียนทราย (ตราด, ตรัง), ตะเคียนหิน (ภาคใต้), ตะเคียนหนู (นครราชสีมา), เหลาเตา (สุราษฎร์ธานี, นครศรีธรรมราช)
ลักษณะทั่วไป
ต้นตะเคียนหินเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูง 15–30 เมตร เปลือกสีน้ำตาลแก่แตกเป็นสะเก็ด เรือนยอดเป็นพุ่มกลมหรือรูปกรวยแหลม กิ่งอ่อนมีขนประปราย ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปไข่ ปลายเป็นติ่งทู่ โคนมน ดอกเล็ก สีขาวหรือขาวปนเหลืองอ่อน ออกเป็นช่อสั้น ๆ ตามง่ามใบและปลายกิ่ง ออกดอกระหว่างเดือนกันยายน-ธันวาคม
ขยายพันธุ์
เพาะเมล็ด
สภาพที่เหมาะสม
เจริญเติบโตได้ดีในสภาพดินแทบทุกชนิด ระบายน้ำได้ดี ต้องการความชื้นปานกลาง เป็นไม้กลางแจ้ง
ถิ่นกำเนิด
ป่าดิบแล้ง และขึ้นเป็นกลุ่มใหญ่ตามที่ลาดเชิงเขาที่มีการระบายน้ำดี
คำขวัญประจำจังหวัดอำนาจเจริญ
พระมงคลมิ่งเมือง แหล่งรุ่งเรืองเจ็ดลุ่มน้ำ งามล้ำถ้ำศักดิ์สิทธิ์ เทพนิมิตพระเหลา เกาะแก่งเขาแสนสวย เลอค่าด้วยผ้าไหม ราษฎร์เลื่อมใสใฝ่ธรรม
ต้นไม้ประจำจังหวัด
ภาคเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
กาฬสินธุ์ขอนแก่นชัยภูมินครพนมนครราชสีมาบึงกาฬบุรีรัมย์มหาสารคามมุกดาหารยโสธรร้อยเอ็ดเลยศรีสะเกษสกลนครสุรินทร์หนองคายหนองบัวลำภูอำนาจเจริญอุดรธานีอุบลราชธานี
ภาคกลาง
กรุงเทพมหานครกำแพงเพชรชัยนาทนครนายกนครปฐมนครสวรรค์นนทบุรีปทุมธานีพระนครศรีอยุธยาพิจิตรพิษณุโลกเพชรบูรณ์ลพบุรีสมุทรปราการสมุทรสงครามสมุทรสาครสระบุรีสิงห์บุรีสุโขทัยสุพรรณบุรีอ่างทองอุทัยธานี